ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ว่าด้วยการบริหารและการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา
พ.ศ.
๒๕๖๐ โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาเป็นส่วนงานภายในคณะ ครุศาสตร์ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสี่ มาตรา ๑๘ (๒) และ (๕)
แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราซภัฏ พ.ศ.
๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ในคราวประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่
๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จึงออกข้อบังคับไว้
ดังนี้ ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า
“ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนับทา
ว่าด้วยการบริหาร
และการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐” ข้อ
๒
ข้อบังคับนี๋ให่ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในข้อบังคับนี้ “สภามหาวิทยาลัย”
หมายความว่า
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
“อธิการบดี” หมายความว่า
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
“คณะ” หมายความว่า
คณะครุศาสตร์ “คณบดี”
หมายความว่า
คณบดีคณะครุศาสตร์ “คณะกรรมการ”
หมายความว่า
คณะกรรมการอำนวยการศูนย์พัฒนาวิชาชีพทาง การศึกษา “คณะกรรมการประจำคณะ”
หมายความว่า คณะกรรมการประจำคณะครุศาสตร์
“ศูนย์” หมายความว่า
ศูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา
“ผู้อำนวยการ” หมายความว่า
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา
ข้อ ๔
ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับนี้
และให้มีอำนาจออกประกาศ ระเบียบหรือ
คำสั่ง
เพื่อประโยซนไนการปฏิบัติการตามข้อบังคับนี้ ในกรณีที่มีบีญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ให้อธิการบดีมีอำนาจวินิจฉัยและให้ถือ เป็นที่สุด ๒ ข้อ ๕
ให้จัดตั้งคูนย์พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาเป็นส่วนงานภายในคณะครุศาสตร์
มีฐานะ เทียบเท่ากอง มีวัตถุประสงค์
ดังนี้ (๑)
ให้บริการทางวิชาการทางการศึกษา
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการศึกษาให้แก่
หน่วยงานของรัฐและเอกซน (๒)
สร้างเครือข่ายและพัฒนากิจกรรมด้านวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาในระดับ นานาชาติ (๓) ริเริ่ม
จัดการพัฒนาหลักสูตร ดำเนินการโครงการ
จัดอบรม สัมมนาและจัดหลักสูตร อบรม
เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้แก,หน่วยงานชองรัฐและเอกซน
(๔) ดำเนินการใดๆ
ตามที่คณะและหรือมหาวิทยาลัยมอบหมาย หมวดที่
๒ ข้อ ๖
ให้การดำเนินงานของศูนย์อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการ
ซึ่งแต่งตั้งโดย
อธิการบดีตามคำแนะนำของคณบดี เรียกว่า
“คณะกรรมการอำนวยการศูนย์พัฒนาวิชาชีพทาง
การศึกษา” ประกอบด้วย (๑)
คณบดี เป็นประธาน (๒)
รองคณบดีที่คณบดีมอบหมาย จำนวนสองคน
เป็นกรรมการ (๓)
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่คณบดีเสนอแต่งตั้ง
จำนวนสามคน เป็นกรรมการ (๔)
ผู้อำนวยการ
เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้ผู้อำนวยการเสนอคณบดีแต่งตั้งบุคลากรของคณะเป็นผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความ จำเป็น ข้อ ๗
คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินงานของศูนย์ให้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งศูนย์
โดยเฉพาะให้มีอำนาจหน้าที่
ดังนี้ (๑)
กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานของศูนย์ให้สอดคล้องกับคณะและ
มหาวิทยาลัย (๒) กำกับ
ดูแล
ให้คำปรึกษาแนะนำผู้อำนวยการเกี่ยวกับการบริหารงานของศูนย์
(๓)
พิจารณากลั่นกรองงบประมาณประจำปีของศูนย์เสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ
เพื่อให้สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ (๔)
พิจารณากำหนดอัตราค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการในการดำเนินกิจกรรมหรือในการ
ดำเนินงานของศูนย์ (๔)
พิจารณารายงานผลการปฏิบัติงานและรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน
ด้านต่างๆ
รวมทั้งรายงานการเงินและบัญชีของศูนย์ (๖)
ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะและหรือมหาวิทยาลัยมอบหมาย ๓ ข้อ ๘
ให้มีผู้อำนวยการคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของศูนย์
และอาจมี
รองผู้อำนวยการตามจำนวนที่คณะกรรมการกำหนดเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่ผู้อำนวยการมอบหมายก็ แ
& เด เมื่อผู้อำนวยการพ้นจากตำแหน่งให้รองผู้อำนวยการพ้นจากตำแหน่งด้วย
ข้อ ๙
ผู้อำนวยการต้องสำเร็จการศึกษาไม่ตํ่ากว่าระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
และมีความรู้,ความสามารถรวมทั้งประสบการณ์ด้าน
การศึกษาไม่น้อยกว่าสามปี ให้อธิการบดีเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนผู้อำนวยการตามข้อเสนอแนะของคณบดี
ให้คณบดีเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนรองผู้อำนวยการตามข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการ
ข้อ ๑๐
คณะกรรมการและผู้อำนวยการมีวาระการดำรงตำแหน่งตามวาระการดำรง
ตำแหน่งของคณบดี
และอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวรรคหนึ่ง
ให้คณะกรรมการและผู้อำนวยการพ้นจาก
ตำแหน่งเมื่อ (๑) ตาย
(๒) ลาออก (๓)
อธิการบดีให้ออกตามข้อเสนอของคณะกรรมการ
เพราะเหตุประพฤติเสื่อมเสีย หรือ
บกพร่องต่อหน้าหน้าที่
หรือหย่อนความสามารถ (๔)
ถูกลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงให้ออกจากงาน
หรือถูกเลิกจ้างเพราะถูกสอบสวน
วินัยอย่างร้ายแรงแต่ผลการสอบสวนทางวินัยไม่อาจลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงได้
(๔)
ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถืงที่สุดให้จำคุก
(๖) เป็นบุคคลล้มละลาย (๗)
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ การให้ออกจากตำแหน่งตาม (๓)
ต้องมีคะแนนเสียงลงมติไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวน
คณะกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ข้อ ๑๑ ผู้อำนวยการมีหน้าที่
ดังนี้ (๑)
บริหารกิจการของศูนย์ให้เป็นไปตามกฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของ
มหาวิทยาลัยและของคณะและมติของคณะกรรมการ (๒) เสนอเป๋าหมาย แผนงาน
โครงการ
งบประมาณและแนวทางการบริหารศูนย์ต่อ
คณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์บรรลุวัตถุประสงค์ (๓) เสนอแผนงานประจำปี
การดำเนินงาน
โครงการเพื่อจัดหารายได้ต่อคณะกรรมการ (๔)
เสนออัตราค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ
(๔)
เสนอประกาศระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลและการเงินของศูนย์
(๖)
เสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆ
ของศูนย์ รวมทั้งรายงาน การเงินและบัญชี
ตลอดจนเสนอแผนการเงินและงบประมาณของปีถัดไปต่อคณะกรรมการ (๗)
เสนอความเห็นเกี่ยวการปรับปรุงการดำเนินงานของศูนย์ให้มีประสิทธิภาพและเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ต่อคณะกรรมการ (๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ
ตามที่คณะกรรมการหรือคณะหรือมหาวิทยาลัยมอบหมาย
ข้อ ๑๒
ในกรณีที่ผู้อำนวยการไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือในกรณีที่ไม,มีผู้ดำรง
ตำแหน่งผู้อำนวยการ
ให้อธิการบดีแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนผู้อำนวยการแต่ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปด
สิบวัน หมวด ๓ การบริการวิซาการแก่สังคมและการจัดหารายได้ ข้อ ๑๓
ศูนย์มีหน้าที่ในการให้บริการวิชาการแก่สังคมและจัดหารายไต้
ดังนี้ (๑) จัดอบรม สัมมนา
หรือบริการวิชาการแก1บุคลากรทางการศึกษาหรือหน่วยงานต่างๆ
ทั้งภาครัฐและเอกซน (๒)
ผลิตและเผยแพร่องค์ความเทางด้านการศึกษาให้แก่บุคลากรทางการศึกษา
หรือ หน่วยงานต่างๆ
ทั้งภาครัฐและเอกชน หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง
ให้อธิการบดีโดยข้อเสนอชอง
คณะกรรมการกำหนดโดยทำเป็นประกาศมหาวิทยาลัย
ข้อ ๑๔ให้ศูนย์มีรายได้ประเภทต่างๆ
ดังนี้ (๑) ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ
หรือค่าใช้จ่ายอื่นที่ได้รับจากการให้บริการวิชาการแก่สังคม
หน่วยงานของรัฐ องค์กรระหว่างประเทศ
องค์กรภาคเอกซน มูลนิธิ
รัฐวิสาหกิจหรือราชการส่วน ท้องถิ่น (๒)
เงินสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย (๓)
เงินงบประมาณแผ่นดินที่ได้รับการจัดสรรให้แก่ศูนย์ (๔)
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ (๔)
รายได้หรือผลประโยซน้อื่น (๖)
รายได้จากการจัดกิจกรรมของศูนย์ ข้อ
๑๔
รายได้ของศูนย์จะต้องจัดการเพื่อประโยชน์ของศูนย์หรือคณะ
ภายในกรอบ
วัตถุประสงค์ของศูนย์และหรือของมหาวิทยาลัย ข้อ
๑๖
ให้ผู้อำนวยการเป็นผู้รับผิดชอบจัดเก็บเงินรายได้
โดยมีหลักฐานการรับเงินตามที่
มหาวิทยาลัยกำหนด ข้อ
๑๗ เงินรายได้ประเภทต่างๆ ของศูนย์
ให้นำฝากธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับความเห็นชอบ
จากอธิการบดี
โดยนำฝากในวันนั้นหรืออย่างช้าในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๘ ให้ศูนย์มีรายจ่ายประเภทต่างๆ
ดังนี้ (๑)
รายจ่ายในการดำเนินงานตามภารกิจของศูนย์ (๒)
รายจ่ายในการซื้อทรัพย์สิบเพื่อใช้ในการให้บริการวิชาการแก่สังคมและการจัดหา รายได้ (๓)
รายจ่ายอื่บที่คณะกรรมการเห็นสมควรให้จ่ายได้ ข้อ
๑๙
การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยหรือของทาง
ราชการ แล้วแต่กรณี ข้อ ๒๐
โครงการหรือกิจกรรมในการดำเนินงานของศูนย์และการจัดหารายได้อาจมีเงินสด
ไวไข้จ่ายได้ตามความเหมาะสม
ตามจำนวนที่ผ้อำนวยการเห็นสมควรโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ ข้อ๒๑
ในกรณีที่ศูนย์มีโครงการหรือกิจกรรมในการบริการวิซาการแก,สังคมและการจัดหา
รายได้หลายโครงการ
ให้แยกบัญชีรายรับรายจ่ายของแต่ละโครงการ ข้อ
๒๒
ให้คณบดีแต่งตั้งเจ้าหน้าที่การเงินของศูนย์
เพื่อจัดทำรายงานการรับจ่ายเงินเสนอ
ต่อคณะกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการของทางราชการ
หรือตามที่คณะหรือมหาวิทยาลัยกำหนด
แล้วแต่กรณี ข้อ ๒๓
ให้คณบดีแต่งตั้งบุคลากรหนึ่งซี่งมิใช่เจ้าหน้าที่การเงินเป็นเจ้าหน้าที่บัญชี
เพื่อ
จัดทำบัญชีและรายงานงบการเงินของศูนย์เสนอต่อคณะกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการของทาง
ราชการ หรือตามที่คณะหรือมหาวิทยาลัยกำหนด
แล้วแต่กรณี ข้อ ๒๔
ให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีของศูนย์อย่างน้อยปีละครั้ง
ในกรณี
ที่เห็นสมควรอธิการบดีอาจแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น
เพื่อตรวจสอบหรือแต่งตั้งผู้สอบบัญชีคนหนึ่งหรือ
หลายคนเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบบัญชีของศูนย์แทนก็ได้ ข้อ
๒๔ สำหรับโครงการจัดอบรม
สัมมนาและบริการวิชาการตามข้อ ๑๓
เมื่อดำเนิน
โครงการแต่ละโครงการเสร็จสิ้นแล้ว
ให้ผู้อำนวยการจัดทำรายงานเสนอต่อคณบดี หมวด
๔ ข้อ ๒๖
เพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์บรรลุวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง
ให้คณบดีมีอำนาจ
หน้าที่กำกับดูแลกิจการของศูนย์ให้เป็นไปตามกฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศนโยบาย มติหรือ
คำสั่งของมหาวิทยาลัย
ในการนี๋ให้คณบดีมีอำนาจสั่งให้ผู้อำนวยการขี้แจงหรือ
รายงานข้อเท็จจริงหรือ
รายงานผลการดำเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใดให้ทราบ
และหากเห็นว่าการดำเนินงานของศูนย์ในเรื่องใด
เป็นการดำเนินการโดยไม,ชอบด้วยกฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง
หรือมติของ มหาวิทยาลัย
หรือขัดต่อวัตถุประสงค์ของวิทยาลัย
หรืออาจเกิดความเสียหายขึ้นกับคณะหรือ
มหาวิทยาลัย
ให้คณบดีมีอำนาจในการสอบสวนหาข้อเท็จจริงหรือยับยั้งการดำเนินงานชองศูนย์หรือ
ของผู้อำนวยการ
แล้วรายงานคณะกรรมการเพื่อพิจารณาต่อไป (นายกร
ทัพพะรังสี) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏส'วนสุน้นทา
หมวดที่
๑
บททั่วไป
การดำเนินงาน
การกำกับดูแล